วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

อาจารย์ อัจฉรา ชินนิยมพาณิชย์


อาจารย์อัจฉรา ชินนิยมพาณิชย์
อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผลงานทางวิชาการ : 
- วิทยานิพนธ์ระดับนิติศาสตรมหาบัณฑิต เรื่อง มาตรการทางกฎหมายในการจัดการเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ใช้แล้วจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ความสนใจทางวิชาการ : 
- กฎหมายสิ่งแวดล้อม (Environmental Law)
- กฎหมายประชาคมอาเซียน (ASEAN Law)
- กฎหมายเยอรมันและกฎหมายประชาคมยุโรป (German Law and EU Law)
- สิทธิมนุษยชน (Human Rights)
- นิติปรัชญา (Philosophy of Law)

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ :
- (April, 2010)  “Scholarship for Spring School Program at Goethe Universität, Frankfurt am Main, Germany”, organized by the German-Southeast Asian Center of Excellence for Public Policy and Good Governance (CPG), Thammasat University

ประวัติการทำงาน :
2551 – 2555   เจิมมิ่ง เฟรย์ โฮเท็ล แอนด์ รีสอร์ท (เลขานุการส่วนตัวของประธานกรรมการบริหาร / ที่ปรึกษากฎหมาย)
    Germing Frey Hotels & Resorts PCC (Personal Assistant to CEO / Corporate Counsel)

2549 – 2551   มูลนิธิศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก (พนักงานประสานงานแหล่งทุนต่างประเทศ / ผู้ช่วยผู้ประสานงานโครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ในประเทศกลุ่มลุ่มแม่น้ำโขง)
The Center for the Protection of Children’s Rights Foundation (International Fundraiser / Mekong Regional Project Coordinator Assistant; Project of Anti-Trafficking)

2547 – 2549   ศาลเด็ก เยาวชน และครอบครัวเขตแฟร์แฟกซ์ รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา (อาสาสมัครแผนกบริการผู้เสียหายในคดี)
  Juvenile and Domestic Relations District Court, Virginia, USA (Volunteer of Victim Services Unit)

2545 – 2546   บริษัท ลากูน่า รีสอร์ท แอนด์ โฮเท็ล จำกัด (มหาชน) (ผู้ช่วยฝ่ายกฎหมาย)
Laguna Resorts & Hotels PLC (Legal Assistant)


ประวัติการศึกษา :
2554  นิติศาตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  LL.M (Natural Resources and Environmental Law), Thammasat University

2548  ประกาศนียบัตรผู้ช่วยทนายความ George Mason University ประเทศสหรัฐอเมริกา
  Certificate in Paralegal, George Mason University, USA

2546  ประกาศนียบัตรหลักสูตรวิชาว่าความ รุ่นที่ 19 (ใบอนุญาตว่าความ) สภาทนายความ
Certificate in Litigation Lawyer the 19th class - year 2002, Lawyers Council of Thailand

2545  ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (กฎหมาย)  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Certificate in English for Specific Careers (Law), Sukothai Thammathiraj Open University  
2544  นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  LL.B, Thammasat University

2539  มัธยมศึกษาตอนปลาย (สายศิลป์ภาษาอังกฤษ เยอรมัน) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
High School Degree (major: Arts – German), Triam Udom Suksa School

คำถามที่ 8

คำถามที่ 8 : การดักจับข้อมูลรหัสผ่าน แล้วนำไปใช้หรือขายต่อ

การแอบดักจับข้อมูลของลูกค้าเป็นความผิดในมาตรา มาตรา 6 ของพรบคอมพวิเตอร์ กล่าวว่าการล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง   ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น   ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี   หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

คำถามที่ 7

คำถามที่ 7 : การเปิดรับและตอบกลับอีเมล์จากผู้ที่ไม่รู้จัก อาจมีการแฝงไวรัส

มีความผิดตามมาตรา 11 พรบคอมพิวเตอร์ ผู้ใดส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แก่บุคคลอื่น  โดยปกปิดหรือปลอมแปลงแหล่งที่มาของการส่งข้อมูลดังกล่าว  อันเป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของบุคคลอื่น  โดยปกติสุข ต้องระวางโทษไม่เกินหนึ่งแสนบาท

คำถามที่ 6

คำถามที่ 6 : การกระทำให้หลงเชื่อเพื่อให้ลูกค้ากระทำธุรกรรมโดยวิธี โอนเงิน หรือสั่งจ่ายผ่านบัตรเครดิต

การหลอกผู้อื่นบนระบบออนไลท์มีความผิดตามมาตรา 14พรบคอมพิวเตอร์ ความว่า ผู้ใดนำเข้า/ปลอม/เท็จ/ภัยมั่นคง/ลามก/ส่งต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์

คำถามที่ 5

คำถามที่ 5 :  การดักจับข้อมูลจากสายสัญญาณขณะที่ลูกค้ากระทำธุรกรรม โดยการทำสำเนารหัสจากอุปกรณ์ Skimmer ที่ถูกติดตั้งกับ Machine ที่ใช้ทำธุรกรรม

การแอบดักจับข้อมูลของลูกค้าเป็นความผิดในมาตรา มาตรา 6 ของพรบคอมพวิเตอร์ กล่าวว่าการล่วงรู้มาตรการป้องกันการเข้าถึง   ระบบคอมพิวเตอร์ที่ผู้อื่นจัดทำขึ้นเป็นการเฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมิชอบในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น   ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี   หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

คำถามที่ 4

คำถามที่ 4 :  การเจาะเข้าระบบงาน (Hack) โดยตรงและทำความเสียหายให้กับลูกค้า

การเจาะเข้าระบบผิดตามมาตรา พรบคอมพิวเตอร์

คำถามที่ 3

คำถามที่ 3 ในกรณีที่มีการส่งมอบสินค้าให้กับผู้ซื้อเรียบร้อยแล้ว ในภายหลังมีการตรวจสอบหลักฐานการโอนเงิน พบว่า มีการปลอมแปลงหลักฐานการโอนเงินเท็จให้กับทางร้าน ทางร้านค้าควรทำอย่างไร (ลูกค้าผิด)

ผิดกฎหมายอาญาเรื่องปลอมเอกสารและใช้เอกสารปลอม สามารถแจ้งความเพื่อดำเนินคดีต่อผู้ซื้อได้ ทั้งยังเป็นการฉ้อโกงด้วยส่วนกฎหมายแพ่ง สามารถเรียกร้องค่าเสียหายได้

อธิบายหลักจริยธรรมนเรื่องของ ความซื่อสัตย์ในยุคการค้าเสรี ลูกค้าและผู้ประกอบการ ควรมีความซื่อสัตย์ และมีความระมัดระวังในการซื้อขายสินค้า ทั้งสองฝ่าย ข้อมูลจากกรณีศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้ประกอบการมีความไว้เนื้อเชื่อใจและมีความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า เนื่องจากมีการส่งหลักฐานการโอนเงินให้ทางผู้ประกอบการ และได้ส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าเป็นการแลกเปลี่ยนเรียบร้อยแล้ว แต่ทางลูกค้าไม่มีความซื่อสัตย์ในการซื้อขายสินค้า กระทำการแจ้งหลักฐานการโอนเงินเท็จ รวมไปถึงผู้ประกอบการขาดความระมัดระวังในการตรวจสอบหลักฐาน จึงทำให้ผู้ประกอบการเกิดการเสียผลประโยชน์และถูกโกงการจากการซื้อขาย